กรด ยูริก สูง

(เมษายน 2022)

กรดยูริกสูง

'กรดยูริก' เป็นสารที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของเรา โดยสามารถสร้างขึ้นได้เองถึง 80% ส่วนอีก 20% นั้นจะนำเข้ามาจากการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสารพิวรีน ซึ่งสารพิวรีนจะสามารถพบได้ในอาหารจำพวกสัตว์ปีก เครื่องในสัตว์ พืชผักบางชนิด และอาหารทะเลบางอย่าง หากร่างกายมี 'กรดยูริก' มากเกินไปจะส่งผลอย่างไร?

กรดยูริค (Uric acid) คืออะไร? มีประโยชน์-โทษต่อร่างกายไหม? | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

  1. กรดยูริคสูง: สาเหตุอาการวิธีลดและป้องกัน - โรค 2022
  2. ทำอย่างไร...? เมื่อระดับกรดยูริกในเลือดสูง | โรงพยาบาลมหาชัย 2
  3. สาย ไท c
  4. ตู้ อบ สมุนไพร แก้ว ดีไซน์
  5. ยำ วุ้นเส้น ง่ายๆ ในคอม
  6. ดูย้อนหลัง กลับไปสู่วันฝัน : PPTVHD36
  7. กรดยูริกสูง อาการ
  8. กรดยูริกสูงเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง - คลินิกกระดูกและข้อ (หมอสุทธิ์)
  9. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ หุ้น

8 อาหารช่วยลดกรดยูริค…พิวรีนต่ำ บอกลาปัญหาโรคเก๊าต์ • สุขภาพดี

ลดกรดยูริคยังไงดี - Pantip

กาแฟ มีงานวิจัยพบว่าการดื่ม กาแฟ ก็สามารถช่วยลดกรดยูริคได้เหมือนกัน แต่แนะนำว่าควรทานในปริมาณที่พอเหมาะและเป็น กาแฟดำ เท่านั้น ก่อนดื่มก็ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพราะบางคนอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพที่ไม่สามารถดื่มกาแฟได้ 7. อาหารที่มีสารพิวรีนต่ำ มีหลายชนิด สามารถเลือกทานได้สลับกันไปเช่น ขนมปังโฮลวีต ข้าวขัดสี ธัญพืช ไข่ ผลิตภัณฑ์จากนมทุกชนิด ถั่วเปลือกแข็ง เต้าหู้ ไขมันทุกประเภท (ควรทานแต่น้อย 8. น้ำเปล่า น้ำจะช่วยให้กรดยูริคในเลือดเจือจางลงและยังช่วยเร่งการกำจัดกรดยูริคออกจากร่างกายทางปัสสาวะ จึงแนะนำให้ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 แก้ว ส่วนใครที่เคยชินกับการดื่มน้ำน้อยๆ มาก่อน แนะนำให้หาแก้วสวยๆ ใส่น้ำมาวางไว้ข้างๆ ตัว อาจจะใส่ผลไม้ เช่น สตรอว์เบอร์รี่ สับปะรด ใบมิ้นท์ ลงไปด้วยก็ได้แล้วใส่น้ำแข็งเกล็ด คุณจะได้น้ำที่หอมหวานกลิ่นผลไม้ไว้จิบตลอดทั้งวัน รับรองว่าสามารถดื่มน้ำได้มากกว่าเดิมแน่นอน เมนูอาหารที่มีสารพิวรีนต่ำ ห่างไกลกรดยูริคสูง วันนี้เรามีเมนูเด็ดอร่อยๆ โดนๆ แต่มีสารพิวรีนต่ำมาฝากกันค่ะ รับรองทานแล้วมีประโยชน์ต่อร่างกายและไม่ทำให้กรดยูริคพุ่งปรี๊ดอย่างแน่นอน 1. โยเกิร์ตมูสลี่ผลไม้สด ใช้โยเกิร์ตสูตรธรรมชาติ แบบไม่มีน้ำตาล ผสมมูสลี่ จากนั้นใส่ผลไม้สดตามไปตามใจชอบ เน้นผลไม้ที่ช่วยลกรดยูริคหรือไม่ก็ได้ เช่น สตรอเบอร์รี่ เชอรี่ แอปเปิ้ล ส้ม เป็นต้น หากยังเปรี้ยวมากเกินไปสามารถใส่น้ำผึ้งลงไปได้เล็กน้อยเพื่อปรับรสชาติค่ะ 2.

กรดยูริคสูงในอาหารที่ต้องระวัง หากเสี่ยงเป็น "โรคเกาต์" - BAAC CENTER

โรคเกาต์ ( Gout) เป็นโรคทางกระดูกและข้อที่สำคัญ มักพบในผู้สูงอายุ และพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง สาเหตุหลักคือมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน จนเกิดผลึกสะสมที่ข้อ ทำให้เกิดอาการอักเสบและปวดบวมอย่างรุนแรง ลักษณะการดำเนินไปของโรคเกาต์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ แต่ละระยะมีอาการและแนวทางการรักษาดังนี้ 1. ระยะที่ไม่มีอาการ แต่มีระดับกรดยูริกในเลือดสูง (Asymptomatic hyperuricemia) ในระยะนี้ผู้ป่วยยังไม่ต้องรักษา เพียงแค่ควบคุมอาหารและระดับกรดยูริกในเลือดก็เพียงพอ 2. ระยะที่มีอาการข้ออักเสบเฉียบพลัน (Acute gout flares or inflammation) ผู้ป่วยจะมีอาการปวดข้ออย่างรุนแรง บวม และอักเสบ มักเกิดในช่วงที่อากาศเย็น เวลากลางคืน และหลังรับประทานอาหารที่มีพิวรีนสูง ตำแหน่งที่มักเกิดอาการคือข้อนิ้วโป้งเท้า เพราะเป็นอวัยวะที่อยู่ล่างสุดและกรดยูริกสามารถตกตะกอนได้ง่ายที่สุด รองลงมาคือข้อนิ้วมือ ข้อเข่า ข้อศอก มักมีอาการ 1-2 วัน และหายได้เองภายใน 5 วันหลังจากข้ออักเสบ 3. ระยะที่ไม่มีอาการหลังจากมีอาการข้ออักเสบ (Intercritical gout or period) เป็นระยะหลังจากที่ข้ออักเสบเฉียบพลัน จะมีการให้ยาเพื่อควบคุมอาการหากมีข้ออักเสบมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป 4.

เขียนเมื่อวันที่ 12/07/2021 ข้อควรรู้!

รศ. นพ.

โรคกล้ามเนื้อสลาย มีสารเคมีหลายประเภทเกิดขึ้นจากการสลายกล้ามเนื้อแล้วละลายอยู่ในกระแสเลือด ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือกรดยูริค 4. โรคไต เมื่อไตมีปัญหา จะทำให้การขับของเสียออกจากร่างกายทำได้แย่ลง สารเคมีต่างๆ รวมทั้งกรดยูริคที่ร่างกายต้องกำจัดออกโดยไต จะตกค้างสะสมอยู่ในร่างกายมากขึ้น 5. โรคนิ่วในไต ก้อนนิ่วในไตอาจจะอุดตันท่อปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะไหลไม่สะดวก การกำจัดของเสียออกไปกับปัสสาวะก็ไม่ดีเหมือนเดิม กรดยูริคจะสะสม ในผู้ป่วยบางราย การมีค่ากรดยูริคในเลือดสูงอาจจะบ่งบอกได้ว่า กำลังเป็นโรคนิ่วในไตอยู่ก็ได้ 6. โรคพิษสุราเรื้อรัง การดื่มแอลกอฮอล์ก็ทำให้กรดยูริคในเลือดสูงได้เนื่องจาก แอลกอฮอล์จะไปเร่งให้ตับส่งของเสียและกรดยูริคเข้ากระแสเลือด เมื่อไตไม่สามารถกำจัดกรดยูริคออกได้ทัน จึงคั่งค้างสะสมอยู่ในกระแสเลือดนั่นเอง 7. โรคเบาหวาน น้ำตาลจาก โรคเบาหวาน จะไปปิดช่องกรวยไต ทำให้การขับของเสียออกจากร่างกายของไตทำได้ไม่ดี กรดยูริคถูกกำจัดออกน้อยจึงเหลือสะสมในร่างกาย 8. ยารักษาโรค การใช้ยาบางชนิดนั้นทำให้กรดยูริคในเลือดเพิ่มปริมาณได้ เช่น ยาแอสไพริน ยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษาโรควัณโรค เป็นต้น อันตรายของกรดยูริคสูง 1.

Friday, 27-May-22 20:47:10 UTC
ท-ซ-พ