คาถา 5 ย - 5 บทสวดคาถาค้ า ข า ยดี ร่ำร ว ย ยิ่งสวดยิ่งดี - Daidee.Com

เจ้าของสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว ต้องนำสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีน ครั้งแรกเมื่อสัตว์เลี้ยงมีอายุ 2-4 เดือน แล้วฉีดซ้ำตามกำหนดทุกปี 2. ไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงออกนอกบ้านตามลำพัง โดยไม่ใส่สายจูง 3. พาสุนัขหรือแมวที่ตนเลี้ยงไปทำหมันเมื่อไม่ต้องการให้มีลูก รวมถึงแจ้งเจ้าหน้าที่ให้มาช่วยทำหมันสุนัขหรือแมวที่ไม่มีเจ้าของ และ 4. ลดความเสี่ยงถูกสุนัขกัดหรือทำร้าย ด้วยการยึดหลักคาถา 5 ย.

คาถา 5.2.7

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แนะประชาชนยึดหลัก "คาถา 5 ย. " ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า หากถูกสุนัขหรือแมว กัด ข่วน หรือเลียบาดแผล แม้เพียงเล็กน้อย ควรรีบล้างแผล ใส่ยา กักหมา หาหมอ ฉีดวัคซีนให้ครบ ส่วนเจ้าของสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว ต้องนำสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า แล้วฉีดซ้ำทุกปี วันนี้ (4 ตุลาคม 2562) นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวถึงกรณีที่พบสุนัขติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) ที่จังหวัดนนทบุรี นั้น ทางกรมปศุสัตว์ ได้ประกาศให้พื้นที่ดังกล่าว เป็นเขตโรคระบาดชั่วคราวตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ. ศ.

แนะ5ย. ป้องกันพิษสุนัขบ้า - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

  1. คาถา 5 ย. ป้องกันสุนัขกัด - YouTube
  2. คาถา 5.0.6
  3. จอ oppo f5 แตก
  4. สำลีพันไม้ก้านยาวสเตอไรล์ฆ่าเชื้อไซส์ M คาริสมา 25 ก้าน

ท่อง '.' ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า - The Bangkok Insight

กรมควบคุมโรค แนะประชาชนหน้าร้อนนี้ พาสุนัข-แมวไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ยึด "คาถา 5 ย. " ป้องกันถูกสุนัขกัด นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน เชื้อจะเข้าทางบาดแผล ผ่านทางกัด ข่วน เลีย สัตว์ที่พบเป็นโรคพิษสุนัขบ้าบ่อยที่สุดคือสุนัข รองลงมาคือแมวและโค โรคนี้สามารถพบได้ตลอดทั้งปี อาการในคน คือ มีไข้ ปวดศีรษะ คันรุนแรงบริเวณบาดแผล คลุ้มคลั่ง กลัวแสง กลัวลม กลืนอาหารไม่ได้โดยเฉพาะของเหลว และหายใจลำบาก เนื่องจากกล้ามเนื้อกระบังลมเป็นอัมพาต ผู้ติดเชื้อแสดงอาการแล้วจะไม่สามารถรักษาให้หายได้ และเสียชีวิตทุกราย โรคพิษสุนัขบ้าสามารถป้องกันได้ โดย 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นำสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นประจำทุกปี 2. ป้องกันไม่ให้สุนัขกัดหรือทำร้าย ด้วยหลัก "คาถา 5 ย. " คือ อย่าแหย่ / อย่าเหยียบ / อย่าแยก / อย่าหยิบ / อย่ายุ่ง 3.

. ป้องกันสุนัขกัด - YouTube

| วันที่ 16 สิงหาคม 2559 | อ่าน: 14, 722 ที่มา: หนังสือพิมพ์แนวหน้า แฟ้มภาพ กรมควบคุมโรค แนะคาถา 5 ย.

แนะประชาชนยึดหลัก “.” ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

ผู้ที่ถูกกัดหรือทำร้ายส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 2. สุนัขเหล่านี้อาศัยอยู่ตามชายหาด มักอยู่กันเป็นฝูง และมีพฤติกรรมหวงถิ่น 3. ปัญหาสุนัขจรจัดที่เกิดขึ้นในประเทศไทย มักเกิดจากเจ้าของสุนัขที่ไม่สามารถเลี้ยงสุนัขได้ เช่น ย้ายที่อยู่ สุนัขออกลูกมากเกินที่จะเลี้ยงได้ ทำให้ปล่อยสุนัขไว้ตามที่ต่างๆ ทั้งนี้ หากถูกสัตว์กัด ข่วน หรือ เลียบาดแผล แม้เพียงเล็กน้อย ควรรีบล้างแผลด้วยน้ำและสบู่ทันทีหลายๆ ครั้ง ประมาณ 10 นาที ใส่ยาเบตาดีน เพื่อลดการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า จากนั้นรีบไปพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัย และรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าทันที หากฉีดวัคซีนแล้วควรไปตามนัดทุกครั้ง นพ. สุวรรณชัย กล่าวต่อไปว่า กรมควบคุมโรค มีคำแนะนำเพื่อลดความเสี่ยง ในการรับเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า โดยขอให้ประชาชนให้ยึดหลัก "คาถา 5 ย. " ดังนี้ 1. อย่าแหย่ ให้สัตว์โมโห 2. อย่าเหยียบ บริเวณลำตัว ขา หรือหางของสัตว์ 3. อย่าแยก สัตว์ที่กำลังกัดกันด้วยมือเปล่า 4. อย่าหยิบ อาหารขณะสัตว์กำลังกิน 5. อย่ายุ่ง กับสัตว์ที่ไม่รู้จักคุ้นเคย เพราะสัตว์เหล่านี้อาจกัดหรือข่วนได้ นอกจากนี้ สำหรับผู้เลี้ยงสุนัข ควรเลี้ยงอย่างรับผิดชอบ เลี้ยงในรั้วรอบขอบชิด หากพาออก ข้างนอกควรใส่สายจูง และต้องนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นประจำทุกปี ทำหมันถาวร เมื่อไม่ต้องการให้สุนัขเพิ่มจำนวน และไม่นำไปปล่อยให้เป็นภาระของสังคม หากในพื้นที่มีสุนัขจรจัด ไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสุนัขเหล่านั้น อย่างไรก็ตาม สุนัขจรจัดเป็นความรับผิดชอบของคนในสังคม เช่น การพาสุนัขไปฉีดวัคซีน ระบุเจ้าของหรือมีการรับเลี้ยงจะดีที่สุด สามารถสอบถามข้อมูลได้ที่สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร.

. ลดเสี่ยงรับเชื้อพิษสุนัขบ้า - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค สถานการณ์โรค พิษสุนัขบ้า ในปี 2561 พบผู้เสียชีวิต 17 รายแล้ว ใน 14 จังหวัด ได้แก่ บุรีรัมย์ ระยอง สงขลา จังหวัดละ 2 ราย สุรินทร์ ตรัง นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง หนองคาย ยโสธร กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ตาก และสุราษฎร์ธานี จังหวัดละ 1 ราย ซึ่งในช่วงนี้ก็ยังมีโอกาส ที่จะพบผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าได้ เนื่องจากโรคนี้สามารถพบได้ตลอดทั้งปี ประกอบกับช่วงนี้สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย อากาศร้อนสลับเย็น ซึ่งอาจทำให้สัตว์หงุดหงิดง่าย แม้จะเป็นสุนัขในบ้านที่ได้รับวัคซีนป้องกันแล้วก็ตาม อาจได้รับเชื้อพิษสุนัขบ้าจากสุนัขของตนเอง ที่ไปเล่นกับสุนัขจรจัดนอกบ้านได้ คาถา 5 ย. ลดความเสี่ยงรับเชื้อพิษสุนัขบ้า ย. ที่ 1 คือ อย่าแหย่ ให้สัตว์โมโหหรือโกรธ การแหย่เพื่อทำให้สุนัขหรือสัตว์ต่างๆ รู้สึกโมโหหรือโกรธนั้น อาจจะทำให้โดนกัดโดนข่วนได้ ซึ่งถ้าหากถูกกัดหรือข่วน ควรรีบล้างแผลแล้วทำความสะอาดด้วยน้ำสะอาด รวมถึงฟอกสบู่หลายๆ ครั้ง และเช็ดแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อหรือแอลกอฮอล์ จากนั้นให้รีบไปโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยใกล้บ้าน เพื่อรับการฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าให้เร็วที่สุด ย. ที่ 2 อย่าเหยียบ บริเวณลำตัว หาง หัว หรือขาของสัตว์ อย่าเหยียบบริเวณลำตัว หาง หัว ขาของสุนัขหรือสัตว์ต่างๆ เด็ดขาด ถึงแม้จะเป็นสัตว์ที่ตนเองเลี้ยงไว้ในบ้าน เพราะอาจจะทำให้สัตว์ตกใจและเสี่ยงโดนกัดได้ เนื่องจากสัญชาตญาณของสัตว์ที่ก็ต้องปกป้องตัวเองเช่นกัน ฉะนั้นแล้วเพื่อลดความเสี่ยงในการรับเชื้อพิษสุนัขบ้า จึงไม่ควรไปเหยียบบริเวณลำตัว หาง หัว หรือขาของสัตว์นั่นเอง ย.

07:54 | 22 มีนาคม 2560 1, 061 รูปข่าว: สำนักอนามัย กทม. แนะ "คาถา 5 ย. " ป้องกันตัวเองจากโรคพิษสุนัขบ้า สำนักอนามัย กทม. แนะนำวิธีป้องกันตัวเองจากโรคพิษสุนัขบ้า ด้วย "คาถา 5 ย. " ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง เตือนรับมือโรคที่อาจเกิดขึ้นในฤดูร้อน นายชวินทร์ ศิรินาค ผู้อำนวยการสำนักอนามัย กทม. " คือ 1. อย่าแหย่ ให้สุนัขโมโห 2. อย่าเหยียบ อย่าไปเหยีบบหาง หัว ตัว ขา หรือทำให้สุนัขตกใจ 3. อย่าแยก ถ้าไปเห็นสุนัขกัดกัน อย่าแยกด้วยมือเปล่า 4. อย่าหยิบ หมายถึง อย่าไปหยิบ หรือเคลื่อนย้ายจานข้าว เวลาที่เค้ากำลังกินอาหาร และ 5.

เพื่อลดความเสี่ยงการรับเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า ดังนี้ 1. อย่าแหย่ ให้สัตว์โมโหเพราะอาจโดนข่วนหรือกัดได้ 2. อย่าเหยียบ บริเวณลำตัว ขา หรือหางของสัตว์ 3. อย่าแยก สัตว์ที่กำลังกัดกันด้วยมือเปล่า 4. อย่าหยิบ จานข้าวหรืออาหารขณะสัตว์กำลังกิน และ 5. อย่ายุ่ง กับสัตว์ที่ไม่รู้จักคุ้นเคย เพื่อลดความเสี่ยงการรับเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า และขอให้นำสุนัข แมว ไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าฟรีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้บริการถึงสิ้นเดือนมิถุนายนนี้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร. 1422 ข่าวสร้างสุข, ข่าวสุขภาพ, thaihealth, สร้างสุข, สสส., สาระสุขภาพ, สุขภาพ, สุขภาวะ, โรคพิษสุนัขบ้า, พิษสุนัขบ้า, สุนัขบ้า เรื่องที่เกี่ยวข้อง ณัฐพล ว่าซ่าน เกา จิ้ง lisa x ี่ีรรี ี่ีรรี

23 พ. ค. 2561 05:45 น. นพ. สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค (คร. ) กล่าวภายหลังเปิดโครงการรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าว่า จากผลการสำรวจพบประชาชนกว่าร้อยละ 50 คิดว่าเมื่อถูกสุนัขกัด/ข่วน/เลีย หรือเกิดแผลเล็กน้อยจะไม่เป็นอะไร จึงไม่ไปพบแพทย์ ทำให้ปี 2561 พบผู้เสียชีวิตในไทยแล้ว 9 รายจาก 9 จังหวัด ได้แก่ สุรินทร์ สงขลา ตรัง นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ บุรีรัมย์ พัทลุง หนองคาย และยโสธร ดังนั้น คร. จึงได้ร่วมกับเครือข่ายต่างๆ เชิญชวนประชาชนในชุมชนให้นำสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีนป้องกันทุกปี และหากพบสัตว์ป่วย ตาย สงสัย ให้แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือปศุสัตว์ในพื้นที่เข้ามาดูแล พร้อมย้ำให้ประชาชนป้องกันตนเองจาก โรคพิษสุนัขบ้า โดยยึดหลัก "คาถา 5 ย" 1. อย่าแหย่ ให้สุนัขโมโห โกรธ 2. อย่าเหยียบหาง หัว ตัว ขา หรือทำให้สุนัขหรือสัตว์ต่างๆตกใจ 3. อย่าแยกสุนัขที่กำลังกัดกัน ด้วยมือเปล่า 4. อย่าหยิบชามข้าวหรือเคลื่อนย้ายอาหารขณะที่สุนัขกำลังกินอาหาร และ 5. อย่ายุ่งหรือเข้าใกล้กับสุนัขหรือสัตว์ต่างๆนอกบ้านที่ไม่มีเจ้าของ หรือไม่ทราบประวัติ. อ่านเพิ่มเติม...

Friday, 27-May-22 20:45:12 UTC
เจาหนาท-ฝาย-กฎหมาย