การ ฟ้อน ภู ไท

  1. ชนเผ่าภูไท : การแสดงฟ้อนรำของชนเผ่าภูไท
  2. ฟ้อนภูไท 3 เผ่า - อีสานร้อยแปด
  3. ฟ้อนภูไท 3 เผ่า | Blog อิงค์สุ
  4. ย voathai
  5. ฟ้อนภูไทกาฬสินธุ์ .Thailand
  6. มวยโบราณ และ ฟ้อนภูไทเรณู | เนื้อหามวย โบราณที่มีรายละเอียดมากที่สุดทั้งหมด

ประเพณีและเทศกาลสำคัญของกลุ่มชาติพันธุ์ภูไท: บุญฮีตสิบสอง (สิริยาพร สาลีพันธ์, 2554; หยกทิพย์ และในสิงห์, 2554) 1. เดือนอ้าย "บุญเข้ากรรม" เป็นการออกจากอาบัติประจำปีตามวิถีทางของพระสงฆ์เป็นเวลา 6 วัน ในระยะเวลาบุญเข้ากรรม ชาวบ้านจะจัดถวายอาหารน้ำปานะและเครื่องใช้ เพื่อให้การปฏิบัติบุญเข้ากรรมของพระสงฆ์ดำเนินไปได้ด้วยดี 2. เดือนยี่ "บุญคูณลาน" เป็นการประกอบพิธีทำบุญเพื่อบูชาแม่โพสพทำบุญข้าวในลาน ก่อนที่จะขนข้าวขึ้นเล้าจะมีการละเล่นทำให้เกิดศิลปะการละเล่นฟ้อนรำที่สวยงาม เรียกว่า "ฟ้อนแถบลาน" การทำบุญนี้ต่างคนต่างทำในครอบครัวไม่พร้อมกัน "บุญกองข้าว" เป็นการทำบุญร่วมกันของชาวผู้ไททั้งหมู่บ้าน เพื่อหาทุนทรัพย์ทำนุบำรุงวัดและพระศาสนาโดยชาวบ้านจะนำข้าวเปลือกมาถวายวัด แล้วคณะกรรมการวัดจะนำข้าวเปลือกไปขาย นำเงินมาบำรุงวัดและพระพุทธศาสนา 3. เดือนสาม "บุญข้าวจี่" ชาวบ้านจะประชุมกันว่ากำหนดบุญข้าวจี่วันไหน แล้วจะตระเตรียมข้าวจี่ (ข้าวเหนียวสุกปั้นโรยเกลือทาไข่ แล้วย่าง) ไปตักบาตรถวายภัตตาหารต่อพระสงฆ์ อาหารหวานคาว สมาทานศีล ฟังเทศน์ รับพรเป็นอันเสร็จพิธี มีคำคมกล่าวล้อเลียนสามเณรเกี่ยวกับบุญข้าวจี่ว่า "เดือนสามค้อย เจ้าโหคอยปั้นข้าวจี่ ปั้นข้าวจี่มิเส่อน้ำอ้อยโจ๋น้อยเซ็ดน้ำตา" 4.

ชนเผ่าภูไท : การแสดงฟ้อนรำของชนเผ่าภูไท

ศ. 2479) พระองค์เป็นพระราชธิดาของรัชกาลที่ 4 และเจ้าจอมมารดาดวงคำ (เจ้าจอมมารดาดวงคำ เป็นราชนัดดาของเจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์) ต่อมาชาวภูไทได้แยกย้ายออกไปตั้งเป็นเมืองพิน เมืองนอง เมืองพ้อง เมืองพลาน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในแขวงสะหวันนะเขต ของประเทศลาว ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินท ร์ เจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.

ศ. 2479) พระองค์เป็นพระราชธิดาของรัชกาลที่ 4 และเจ้าจอมมารดาดวงคำ (เจ้าจอมมารดาดวงคำ เป็นราชนัดดาของเจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์) ต่อมาชาวภูไทได้แยกย้ายออกไปตั้งเป็นเมืองพิน เมืองนอง เมืองพ้อง เมืองพลาน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในแขวงสวรรณเขต ของประเทศลาว ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.

ฟ้อนภูไท 3 เผ่า - อีสานร้อยแปด

ผ้าดำ? หรือซิ่นดำ ลักษณะเด่นของซิ่นหมี่ชาวภูไท คือการทอและลวดลาย เช่น ทอเป็นลายขนาดเล็กๆ นอกจากนี้มีลายอื่น ๆ เช่น หมี่ปลา หมี่ตุ้ม หมี่กระจัง หมี่ข้อ ทำเป็นหมี่คั่น มิได้ทอเป็นหมี่ทั้งผืน แต่หากมีลายต่าง ๆ มาคั่นไว้ สีที่นิยมคือ สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีม่วง พื้นมักใช้เครือหูกฝ้ายสีเปลือกอ้อย นอกจากนี้ยังพบผ้ามัดหมี่ฝ้ายขาวสลับดำในกลุ่มผู้ไทย เสื้อ นิยมทำเป็นเสื้อแขนกระบอกสามส่วนติดกระดุมธรรมดา กระดุมเงิน หรือเหรียญสตางค์ เช่น เหรียญสตางค์ห้า สตางค์สิบ มาติดเรียงเป็นแถว นิยมใช้เป็นผ้าย้อม ครามเข้มใน ราว พ. ศ.

เดือนหก "บุญบั้งไฟ และแห่บุญผเหวต (พระเวส)" ชาวบ้านจะจัดตรงกับวันวิสาขบูชาในพระพุทธศาสนา มีการแห่ต้นกัณฑ์ผเหวต แห่พราหมณ์ (ชูชก) แห่พระเวสสันดรเข้าเมือง แห่บั้งไฟ จัดบั้งไฟ ทำบุญตักบาตรภาคค่ำจะเวียนเทียนรอบองค์พระธาตุเรณู 7. เดือนเจ็ด "บุญซำฮะ" บุญบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ผีบ้าน ผีเรือน เพื่อชำระจิตใจให้ผ่องใส 8. เดือนแปด "บุญเข้าพรรษา" ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หล่อเทียนไปถวายวัดทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ ฟังธรรมตลอดเวลา 3 เดือน 9. เดือนเก้า "บุญข้าวประดับดิน" เป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษที่ล่วงลับจะจัดขึ้นในวันแรม 14 ค่ำ ชาวบ้านจะทำบุญตักบาตร และนำข้าวปลาอาหารไปวางไว้ตามต้นไม้ โบสถ์ กำแพงวัด ตามพื้นดินวัด จึงเรียกว่า บุญข้าวประดับดิน ถือว่าทำบุญให้เปรตที่ไม่มีญาติอุทิศส่วนกุศลให้ได้มารับส่วนบุญ 10. เดือนสิบ "บุญข้าวสาก" เป็นการทำบุญต่อเนื่องจากเดือนเก้า กำหนดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ แต่เป็นการทำบุญโดยถวายสลากภัตแด่พระสงฆ์ มีการเตรียมล่วงหน้าในการห่อข้าวต้ม ข้าวตอกคลุกน้ำตาล ใส่ถั่ว งา มะพร้าว 11.

ฟ้อนภูไท 3 เผ่า | Blog อิงค์สุ

ศ.

การฟ้อนภูไท

ย voathai

การ ฟ้อน ภู ไทย

เดือนสี่ "บุญเดือนสี่" หากเป็นที่เรณูนครการทำบุญสมโภชองค์พระธาตุเรณู มีในวันขึ้น 11 ค่ำ และ 15 ค่ำ มีการทำบุญตักบาตร จะมีมหรสพเป็นโอกาสที่หนุ่มสาวได้ไปทำบุญและพบปะสนทนากันมีการเวียนเทียนรอบองค์พระธาตุเรณูในค่ำคืนขึ้น 15 ค่ำ 5.

ฟ้อนภูไทกาฬสินธุ์ .Thailand

ศ. 2479) พระองค์เป็นพระราชธิดาของรัชกาลที่ 4 และเจ้าจอมมารดาดวงคำ (เจ้าจอมมารดาดวงคำ เป็นราชนัดดาของเจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์) ต่อมาชาวภูไทได้แยกย้ายออกไปตั้งเป็นเมืองพิน เมืองนอง เมืองพ้อง เมืองพลาน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในแขวงสะหวันนะเขต ของประเทศลาว ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.

การฟ้อนภูไท 3เผ่า เป็นการนำเอามรดกทางวัฒนธรรมของชาวภูไทที่อาศัยอยู่ในบริเวณเทือกเขาภูพานซึ่งได้ยกมา 3จังหวัดคือ กาฬสินธุ์ สกลนคร และนครพนม มาเปรียบเทียบในเชิงการจัดการแสดงทางด้านนาฏกรรม อันเนื่องมาจากชาวภูไททั้งสามกลุ่มนี้มีรูปแบบและ เอกลักษณ์ของตนเองที่แตกต่างกัน ในปี พ. ศ.

มวยโบราณ และ ฟ้อนภูไทเรณู | เนื้อหามวย โบราณที่มีรายละเอียดมากที่สุดทั้งหมด

ท่าโยกหรือท่าเตรียม (ท่าเตรียมโยกตัวไปมาเป็นการอุ่นเครื่องเพื่อจะไปท่าบิน) 2. ท่าบิน หรือท่านกกะทาบินเลียบ 3. ท่าเพลิน หรือท่าลำเพลิน 4. ท่าเชิด หรือ ท่ารำเชิด 5. ท่าม้วน หรือท่ารำม้วน 6. ท่าส่าย หรือท่ารำส่ายเปิด 7. ท่าลมพัดพร้าว 8. ท่ารำเดี่ยว หรือฟ้อนเลือกคู่ 9. ท่าเสือออกเหล่า 10. ท่ากาเต้นก้อนข้าวเย็น 11. ท่าเสือลากหาง 12. ท่าม้ากระทืบโฮง 13. ท่าจระเข้ฟาดหาง 14. ท่ามวยโบราณ 15. ท่าถวายพระยาแถน หรือท่าหนุมานถวายแหวน 16.

  • Dvd ได ร ฟ์
  • Ais ถาม ยอด engagement
  • ตํา แห น่ ง หิ้ง พระ ใน บ้าน
  • Source file คือ e
  • การฟ้อนภูไท
  • ชนเผ่าภูไท : การแสดงฟ้อนรำของชนเผ่าภูไท
  • เสื้อ limp bizkit full
  • ฟ้อนภูไทเรณูนคร - YouTube
  • ภาพปริศนา - GotoKnow
  • รับโปรโมทแชลแนลโปรโมทเพจฟรี!! | วิธี หาเงินออนไลน์ ได้จริง ลองดู - marketingtangtruong.com
  • การ ฟ้อน ภู ไทย voathai
Friday, 27-May-22 20:44:43 UTC
เจาหนาท-ฝาย-กฎหมาย